วันอาทิตย์ที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การใช้ชีวิตให้มีความสุขกับโรคกระพรุน

(https://medthai.com) – ความจริงทางการแพทย์ที่ว่าเราไม่ชอบนอนที่โรงพยาบาล แต่ด้วยอายุที่เพิ่มขึ้น ทำให้เรามีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคกระพรุงเพิ่มสูงขึ้นมากขึ้นเช่นกัน ตามรายงานของ the American Academy of Orthopedic Surgeons ว่าปัจจุบันเรามีผู้สูงอายุที่กำลังป่วยเป็นโรคกระดุกพรุนมากถึง 10 ล้านคนทั่วโลก และอีก 18 ล้านคนกำลังมีความเสี่ยง

โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis) และโรคกระดูกบาง (Osteopenia) เป็นภาวะที่มีปริมาณแร่ธาตุ (ที่สำคัญคือ แคลเซียม) ในกระดูกลดลง ร่วมกับความเสื่อมของเนื้อเยื่อที่ประกอบเป็นโครงสร้างภายในกระดูก ทำให้เนื้อหรือมวลกระดูกมีความหนาแน่นลดลง จึงเปราะและแตกหักได้ง่าย

สำหรับในเด็กจะมีการสร้างกระดูกมากกว่าการสลาย จึงทำให้กระดูกมีการเจริญเติบโต เนื้อกระดูกจึงค่อย ๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งการสะสมเนื้อกระดูกนี้จะมากและเป็นไปอย่างรวดเร็วในช่วงก่อนเข้าสู่วัยรุ่น หลังจากนั้นการสะสมเนื้อกระดูกจะเริ่มช้าลงอย่างช้า ๆ จนได้เนื้อกระดูกที่มีความหนาแน่นสูงสุดเมื่ออายุได้ประมาณ 25-30 ปี เนื้อกระดูกก็จะคงที่อยู่เช่นนั้น จนถึงช่วงอายุประมาณ 35-40 ปีจากนั้นจะเริ่มมีการสลายกระดูกมากกว่าการสร้าง ความหนาแน่นของเนื้อกระดูกจึงเริ่มลดลงอย่างช้า ๆ ประมาณ 0.5-1% ต่อปี และบางตัวลงไปตามอายุที่มากขึ้นทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย

ส่วนใหญ่โรคนี้มักจะไม่มีอาการแสดง ยกเว้นเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้กระดูกหักได้ง่ายถ้าไม่ระวังให้มาก และหากเกิดภาวะกระดูกหักแล้วก็จะทำให้เกิดอาการเจ็บปวดหรือความผิดปกติของโครงสร้างกระดูก เช่น ปวดข้อมือ สะโพก หรือหลัง เนื่องจากกระดูกข้อมือ สะโพก

วิธีป้องกัน
ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจกรอง เช่น หญิงวัยหมดประจำเดือน, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่ใช้ยาสเตียรอยด์เป็นเวลานาน ๆ, ผู้ที่มีโรคที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกพรุน เป็นต้น
  1. ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ทุกวันในปริมาณที่พอเหมาะที่ไม่ทำให้เกิดโรคอ้วนและน้ำหนักตัวเกิน โดยเฉพาะอาหารที่มีแคลเซียมสูงควรรับประทานให้เพียงพอในแต่ละวัน 
  2. หมั่นรับแสงแดด 
  3. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 
  4. ควบคุมน้ำหนักตัวอย่าให้ต่ำกว่าเกณฑ์หรือผอมจนเกินไป 
  5. ไม่รับประทานยาเคลือบกระเพาะอาหาร เพราะจะทำให้ร่างกายเกิดภาวะเป็นด่าง การดูดซึมแคลเซียมจะลดลง 
  6. ลดความเสี่ยงใดๆที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุจากการหกล้ม เพราะกระดูกที่หักในวัยผู้สูงอายุจะเชื่อมต่อกันได้ยาก ดังนั้นการป้องกันการหกล้มภายในบ้านจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยอย่างเช่น เก้าอี้เลื่อนขึ้นบันได (Stairlift) จึงอาจเป็นคำตอบสำหรับการป้องกันการหกล้มหรือตกบันไดได้เป็นอย่างดี เครื่องมือสมัยใหม่อย่าง เก้าอี้เลื่อนขึ้นบันได Acorn (Acorn Stairlift) ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีและเชื่อถือได้มากที่สุดในขณะนี้ การติดตั้ง เก้าอี้เลื่อนขึ้นบันได Acorn (Acorn Stairlift) สามารถติดตั้งได้ง่าย ราคาไม่แพง และมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม ใช้เวลาไม่กี่ชั่วโมงและไม่จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างของตัวบ้าน
สนใจข้อมูลเพิ่มเติม เรียนเชิญที่ : http://www.modernstairlifts.comครับ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น